สรุปอุตสาหกรรม อาวุธสงคราม บนโลกนี้ /โดย ลงทุนแมน
สงครามโลกครั้งที่ 2 ตัวเลขของผู้เสียชีวิตมีมากกว่า 60 ถึง 70 ล้านคนเป็นอย่างน้อย
ความเจ็บปวดทรมานทั้งร่างกายและจิตใจกระจายไปทั่วโลก
มูลค่าทางเศรษฐกิจเสียหายเกินกว่าจะประเมินออกมาได้
แต่ในวันนี้ หรือหลังจากผ่านสงครามโลกครั้งที่ 2 มาแล้ว 70 ปี
โลกของเราก็ยังคงมีสงครามเกิดขึ้นอยู่หลายแห่ง
และที่น่าแปลกคือ “ธุรกิจผลิตอาวุธ” ที่เป็นเครื่องมือในการคร่าชีวิตมนุษย์ด้วยกันยังคงดำเนินกิจการอยู่
ปัจจุบัน อุตสาหกรรมอาวุธสงครามเป็นอย่างไรและมีมูลค่ามากขนาดไหน ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
รู้หรือไม่ว่าในแต่ละปี มูลค่าการส่งออกอาวุธทั่วโลกมีมูลค่ากว่า 10 ล้านล้านบาท
โดยในช่วงระหว่างปี 2016 ถึง 2020 ประเทศสหรัฐอเมริกาคือ ผู้ส่งออกอันดับ 1 คิดเป็น 37%
ในขณะที่ อันดับ 2 ถึง 5 ไล่ตามลำดับ ก็คือ รัสเซีย ฝรั่งเศส เยอรมนี และจีน รวมกัน คิดเป็น 39%
จากตรงนี้จะเห็นได้ว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาคือเจ้าพ่อแห่งอาวุธสงคราม
ที่กินส่วนแบ่งมากที่สุดในโลกและเมื่อมาดูลูกค้ารายใหญ่ใน 5 ปีที่ผ่านมา จะพบว่า
อันดับ 1 คือ ประเทศซาอุดีอาระเบีย
อันดับ 2 คือ ประเทศออสเตรเลีย
อันดับ 3 คือ ประเทศเกาหลีใต้
และลูกค้ารายอื่น ๆ ก็ยังมีประเทศอิสราเอล ไต้หวัน และญี่ปุ่น
จากรายชื่อที่กล่าวถึงก็จะพบว่าประเทศเหล่านี้ กำลังอยู่ในภาวะตึงเครียดทางด้านสงคราม
กับประเทศใกล้เคียงอย่างเช่น จีน รัสเซีย และอิหร่าน ซึ่งล้วนเป็นคู่แข่งของสหรัฐอเมริกาทั้งสิ้น
ทำให้อาวุธหนักอย่างเครื่องบินรบหรือเรือรบจะถูกจำกัดการขายให้กับประเทศที่เป็นพันธมิตรเท่านั้น
แล้วอุตสาหกรรมอาวุธสงครามมีการซื้อขายกันอย่างไร ?
จุดนี้หลายคนอาจจะคิดว่าหากประเทศที่เป็นพันธมิตรติดต่อซื้ออาวุธสงคราม
ประเทศเหล่านั้น ก็น่าจะได้อาวุธทุกอย่างตามที่ต้องการ
แต่ในความเป็นจริงมันก็ไม่ได้ง่ายแบบนั้น เพราะทุก ๆ รายการสั่งซื้อจะต้องถูกตรวจสอบและต้องได้รับอนุมัติโดยหน่วยงานของรัฐฯ เสมอ
เราลองมาดูระบบการขายอาวุธของประเทศสหรัฐอเมริกา
ซึ่งมีการขายอาวุธผ่าน 2 ช่องทางหลัก แบ่งออกเป็น
1. การติดต่อขอซื้อผ่านรัฐบาลสหรัฐอเมริกาโดยตรง
ช่องทางนี้จะมีมูลค่าเฉลี่ยประมาณ 1.65 ล้านล้านบาทต่อปี
โดยส่วนใหญ่จะเป็นการซื้อในปริมาณมากหรือเป็นยุทโธปกรณ์ที่ต้องติดต่อซื้อขายในแบบรัฐบาลต่อรัฐบาล (G to G Business) เท่านั้น
นอกจากนี้ วิธีดังกล่าวยังเป็นการซื้อขายที่มีความเกี่ยวข้องกับความมั่นคงหรือเป็นการดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในแต่ละประเทศ
2. การซื้อขายโดยตรงเชิงพาณิชย์
ช่องทางนี้ มีมูลค่าเฉลี่ยประมาณ 3.40 ล้านล้านบาทต่อปี
สำหรับการซื้อขายโดยตรงเชิงพาณิชย์ มีการกำหนดรายการซื้อขายไว้อย่างชัดเจน
แบ่งออกเป็น 21 หมวดหมู่ ครอบคลุมตั้งแต่ปืนไรเฟิลไปจนถึงเครื่องบินรบ
ทั้งนี้การซื้อขายที่เกิดขึ้นจะเป็นการเจรจาระหว่างผู้ซื้อและบริษัทในสหรัฐอเมริกาโดยตรง
อย่างไรก็ตาม ทุกรายการจะต้องถูกตรวจสอบและอนุมัติการซื้อขายโดยหน่วยงานของรัฐฯ
ที่อยู่ภายใต้กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม และกระทรวงพาณิชย์เสมอ
ก่อนมีการดำเนินการส่งมอบสินค้า
ยิ่งเป็นรายการสั่งซื้อที่มีปริมาณมาก หรือมีความเสี่ยงอื่น ๆ ที่อาจจะมีผลกระทบต่อความมั่นคง
รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจะต้องแจ้งรายการสั่งซื้อดังกล่าวให้รัฐสภา รับทราบและพิจารณาอนุมัติด้วย
ยกตัวอย่างเช่น การอนุมัติขายอาวุธและระบบป้องกันภัยให้กับประเทศไต้หวันมูลค่ากว่า 150,000 ล้านบาท
หรือในกรณีที่ไม่อนุมัติก็เป็นตอนที่วุฒิสภาปฏิเสธสัญญาขายอาวุธของรัฐบาลดอนัลด์ ทรัมป์ ให้กับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มูลค่ากว่า 690,000 ล้านบาท ในปี 2020 นั่นเอง
ซึ่งระบบการซื้อขายที่มีภาครัฐเข้ามาเกี่ยวข้อง ก็บอกได้ว่านอกจากเรื่องของผลกำไรจากการซื้อขายอาวุธ
มันก็ยังมีเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นปัจจัยในการพิจารณา เช่น
การเสริมสร้างพันธมิตรในภูมิภาคต่าง ๆ อย่างที่สหรัฐอเมริกาได้ขายอาวุธจำนวนมาก
ไปยังประเทศพันธมิตรในภูมิภาคตะวันออกกลางในช่วงปี 2016 ถึง 2020
โดยคิดเป็นมากถึง 47% ของยอดส่งออกทั้งหมด
รวมถึงการป้องกันเทคโนโลยีชั้นสูงจะตกไปอยู่ในมือของคู่แข่ง ตัวอย่างที่เห็นชัดที่สุด
คือการที่รัฐบาลไม่อนุญาตให้ทำการขายหรือเปิดเผยข้อมูลของเครื่องบินรบ รุ่น F-22
ที่มีมูลค่าสูงถึง 5,500 ล้านบาทต่อลำ เพราะถือว่าเป็นเทคโนโลยีที่ยังไม่มีชาติใดในโลกสามารถก้าวขึ้นมาแข่งขันได้
ซึ่งเทคโนโลยีการผลิตทั้งหมดจะถูกปกปิดเป็นความลับระหว่างรัฐบาลและผู้ผลิตเท่านั้น
เมื่อมีกฎระเบียบที่มีความเข้มงวดสูง ก็น่าจะส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของบริษัทค้าอาวุธอยู่ไม่น้อย แต่ดูเหมือนว่าธุรกิจค้าอาวุธที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐนั้นจะมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ดูได้จากผลประกอบการของบริษัท Lockheed Martin
บริษัทค้าอาวุธอเมริกันที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก
ปี 2018 รายได้ 1,613,000 ล้านบาท กำไร 151,000 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 1,794,000 ล้านบาท กำไร 187,000 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 1,962,000 ล้านบาท กำไร 205,000 ล้านบาท
จะเห็นได้ว่ารายได้บริษัทเติบโตเฉลี่ย 10.3% ต่อปีและกำไรเติบโต 16.5% ต่อปี
ซึ่งรายได้กว่า 70% ของยอดขายมาจากสัญญาซื้อขายกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ในขณะที่อีก 30% มาจากลูกค้าทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ
จะเห็นได้ว่า แม้ว่าอุตสาหกรรมค้าอาวุธสงครามจะมีข้อจำกัดมากมาย
แต่รายได้ส่วนใหญ่ก็มาจากรัฐบาล และการเติบโตที่เราเห็นกัน
ก็อาจจะสะท้อนให้เห็นว่าหลายประเทศทั่วโลกกำลังเสริมอาวุธยุทโธปกรณ์กันมากขึ้น
หากเรามาดู งบประมาณรายจ่ายทางทหารของสหรัฐอเมริกา
มีมากกว่า 23.0 ล้านล้านบาทต่อปี
อันดับ 2 คือ จีน 7.5 ล้านล้านบาทต่อปี
อันดับ 3 คือ อินเดีย 2.2 ล้านล้านบาทต่อปี
ก็ยิ่งสะท้อนให้เห็นว่าโลกของเรายังคงเดินหน้าสะสมทรัพยากรด้านสงครามกันอย่างต่อเนื่อง
และจากความขัดแย้งทางการทหาร ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็น
เกาหลีใต้ กับ เกาหลีเหนือ
ไต้หวัน กับ จีน
ซาอุดีอาระเบีย กับ อิหร่าน
อิสราเอล กับ ปาเลสไตน์
ถึงตรงนี้ เราก็สามารถสรุปได้ว่าอุตสาหกรรมอาวุธสงคราม
ก็เหมือนจะเป็นธุรกิจที่จำเป็นและยังคงเป็นที่ต้องการอยู่
จึงไม่แปลกที่เวลามีสงครามเกิดขึ้นที่ใดบนโลก
ประเทศที่ขึ้นชื่อเรื่องอาวุธสงครามอย่างสหรัฐอเมริกา จีน และรัสเซีย
มักจะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในความขัดแย้งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
เหตุผลสำคัญคงหนีไม่พ้นข้อเท็จจริงที่ว่า ยิ่งมีสงครามกันมากเท่าไร
ประเทศเหล่านี้ที่มีสถานะเป็นผู้ขายอาวุธ ก็น่าจะยิ่งได้ประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.state.gov/u-s-arms-sales-and-defense-trade/
-https://www.lockheedmartin.com/content/dam/lockheed-martin/eo/documents/annual-reports/lo-ckheed-martin-annual-report-2020.pdf
-https://sipri.org/sites/default/files/2021-03/fs_2103_at_2020.pdf
-https://www.sipri.org/databases/financial-value-global-arms-trade
-https://www.wearethemighty.com/mighty-tactical/why-f-22-never-exported/
-https://militarymachine.com/f-22-raptor-vs-f-35-lightning-ii/
-https://www.sipri.org/media/press-release/2021/world-military-spending-rises-almost-2-trillion-2020
-https://www.defenseworld.net/news/28470/United_States____Arms_Exports_Totaled__175_08_billion_in_2020__up_2_8__Over_2019#.YNIZXOgzaUk
同時也有16部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅巴打台,也在其Youtube影片中提到,軍武器硏 第105集 2019年07月07日 主持: Larry , Alexei 第一節: 俄羅斯潛艇火災釀14官兵死亡/高度國防機密/普京取消行程與部長相討/涉事為變壓器短路起火/球體艙室設計迴異/潛艇救援再成關注 第二節: F-22重返中東/配合F-35多元戰術對付伊朗/福特號技術...
「f-22 vs f-35」的推薦目錄:
- 關於f-22 vs f-35 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於f-22 vs f-35 在 林家興 Alfred Lin Facebook 的最佳貼文
- 關於f-22 vs f-35 在 新《番薯藤》國防軍事網 Facebook 的最佳解答
- 關於f-22 vs f-35 在 巴打台 Youtube 的最佳貼文
- 關於f-22 vs f-35 在 巴打台 Youtube 的最佳解答
- 關於f-22 vs f-35 在 巴打台 Youtube 的最佳貼文
- 關於f-22 vs f-35 在 [提問] 為什麼F22已經出來20年了,仍是無敵? - 看板Military 的評價
- 關於f-22 vs f-35 在 F-22及F-35專欄, profile picture - Facebook 的評價
- 關於f-22 vs f-35 在 F-22 Raptor vs F-35 Lightning | Cost, Performance, Size, Top ... 的評價
f-22 vs f-35 在 林家興 Alfred Lin Facebook 的最佳貼文
王浩宇議員批評馬總統要為F-5E戰機失事負責,非常不公允,對國軍家屬也毫無尊重。
最早提出「國防自主、國機國造」八個字的國家元首,叫做馬英九。
而導致F-5E必須繼續升空執勤、無法照早先國防部規劃在2019年退役的人,照王浩宇議員的政治邏輯來看,可能會是蔡英文。
2011年6月,馬總統出席漢翔公司的經國號戰機性能提升「翔展計畫」首批交機典禮,並指示國防部、經濟部與漢翔公司密切研商發展高性能教練機的可能性,條件不足的部分則創造條件,以期達到「國防自主、國機國造」的目標。
在這之前的2008、2009年,漢翔曾和義大利阿萊尼亞·馬基(Aeronautica Macchi)航空接觸,探詢以M 346為基礎合作的可能性。
2014年,漢翔航空與阿萊尼亞·馬基航空簽署了1項諒解備忘錄,以便在臺灣組裝M-346(M 346 Master)高級教練機。
➽ #這是一款怎樣的飛機? #當時的政策構想為何?
它被定位是一款無武裝的高級教練機,義大利、以色列、新加坡都將其視為「專用高級教練機」角色,因配備數位航空電子系統,是能匹配滿足當今包括法國颱風、瑞典獅鷲、美國的戰隼(F-16)、黃蜂式(F-18),猛禽(F-22)和多用途匿蹤攻擊戰鬥機(F-35)等新一代戰機訓練飛行員的高教機。包括義大利、以色列、新加坡、波蘭及阿聯酋皆購入採用,因此在當時成為空軍與漢翔建案的合理選擇。
經查閱許多新聞報導後,我自己的解讀是:原本的政策構想,是希望透過漢翔與國外廠商的進一步合作提升產業鏈發展、培養我國民間投入國防軍機生產與後勤能量。採購M-346除可滿足我國在台組裝要求,並在國內生產部份零組件,可間接創造就業機會,對國內航太產業頗有助益。
簡而言之,當時馬政府為了爭取時效性,對「國機國造」的定義,是先引進國外成熟設計在台生產。可以盡快滿足空軍需求,在培養生產與後勤能量上,則可以說這是一個比較穩健(當然也有人會認為是緩慢)、漸進的政策做法。
➽ #前後任政府高教機決策的差異
2015年,空軍新式高教機於12月完成建案程序,並依規定呈報行政院但未獲核定。在2016年政黨輪替以後,蔡政府改變政策取向,評估國內生產與後勤能量已經足夠,將「國機國造」重新定義為「自研自製」,以經國號戰機為基底改造推出新式高教機(T-5「勇鷹」教練機)。
搜尋歷年資料與新聞可以發現,由於從馬政府時期的「#外購合作」轉為蔡政府的「#自研自製」,從原本規劃F-5E退役的2019年,改為如今的2024年開始交機T-5,蔡政府政策轉向的結果,長遠來看對於提升國防產業能量當然有很大效益,但也確實導致F-5系列的退役時間因此晚了五年。
➽#這邊就涉及到一個軍事專業的爭點:
「到底F-5與AT-3系列是不是太老、還可不可以飛?」
多年前在馬政府時期,空軍曾以現有AT-3和F-5型部訓機已臨壽限迫切需要換機為由,著手建案準備對外採購66架新型高教機,並預計以693億元預算在6年期程內就完成(但同時期的海軍出身國防部高層有不同意見,因此一延再延)。
而在民進黨政府上台後,有質疑聲音認為為何空軍趕著建案買義大利的M346教練機,後拍板決定要給漢翔自製,空軍於是又改口,AT-3和F-5都有延壽計畫,其中F-5型預計還可飛到2028年才汰除。
在2016年高教機採購案引起各方關注時,國民黨前國防專業立委林郁方就曾針對「高級教練機自研自製的時程生變,使其可能需延役4至5年」提出警告,認為2017年F-5E/F戰機的各項預算不但沒增加還減少,戰機飛安恐有疑慮。軍事研究專家揭仲也曾在2016年撰文表達「自研自製」高教機需先提升F-5E/F的安全性。
不過,這兩天包括馮世寬前部長與一些空軍退役將領、軍事專家等,都提出過「武器不一定老就有問題,#重點是如何維護保養,全世界還有26個國家在飛F-5系列」的論點來為延役辯護。
空軍司令部也指出,「空軍於1994至2000年期間,已完成F-5型機結構強化作業,另2004年經原廠評估回覆,單座機壽期時數為14779小時,雙座機則為30000小時;目前空軍F-5型機平均飛行時數為7825小時,均未超出美方原廠規範。」
也有人以B-52同溫層堡壘轟炸機(B-52 Stratofortress)為例,該機型從1950-60年代生產至今,許多轟炸機的服役年齡動輒超過半個世紀,美國空軍甚至打算讓B-52一直服役至2050年。從軍事專業的角度出發,上述的「維保重於年限」想法也不能完全說錯。
(牽涉到各個機種機型不同的製造方式、結構與使用方式,或許讓飛機年齡有不同的年人這邊非專業我就不展開)
➽#國防自主大家都認同 #政治口水麻煩省省
我個人很支持國防自主的理念,如果條件俱備,當然最好把國防產業留在台灣。如同《聯合報》的評論指出,如果勇鷹大獲成功「成為拉動台灣航太產業再起的火車頭,歷史自然會將榮耀歸給當初作出決策的蔡總統。」該給蔡政府、蔡總統的掌聲,一定不會少。
出身軍人家庭,也服過預備軍官役,我和很多人一樣清楚,軍人家庭的吃穿所用,沒有一件不沾著血。
國軍本身就是一個大家庭,有人演訓失事,跟自己家裡死了兄弟姊妹沒兩樣。《一把青》裡的擔驚受怕的空軍眷村,正是許多人從小缺少父親陪伴長大的兒時憶痛。
昨天在臉書上,也不意外地看到出身國軍特別是空軍家庭的朋友撰文哀悼。
也因此,許多人包括我看到王浩宇議員的抨擊言論,都感到頗為生氣,在失事調查報告沒出來就直接牽拖馬前總統,非常無聊也不應該。如果到時報告出來有幾分證據說幾分話,去檢討現任與前任三軍統帥的決策,難道不是比較適當的作法?
軍人家庭的傷痛,是你拿來當作攫取政治利益的談資嗎?
就是這種政治立場鮮明、不問是非的問政風格,才會導致各方撻伐甚至發起罷免行動,我認為王議員當年背負很多人對於年輕人參政的期待當選,如今是這種表現,應該深自檢討改進。請給國軍與專業一點尊重。
我是桃園人,在中壢讀過書,也希望中壢可以變好。
關心國政是OK的,但也還是期待王浩宇議員可以好好專注市政,不要有那麼多無謂的政治口水,這是傷害到你自己,傷害到民進黨,也傷害中華民國國軍的不智之舉。
(圖片為F-5E,取自http://taiwanairpower.org/)
🔗參考資料:1.總統出席經國號戰機性能提升「翔展計劃」首批交機典禮https://www.president.gov.tw/NEWS/15540#
2.啟動國機國造!新式高教機明簽約 蔡英文將親自出席
https://www.ettoday.net/news/20170206/861289.htm
3.經國號升級版 首批6架交貨
https://news.ltn.com.tw/news/politics/paper/504971
4.戰機墜海|空軍退將揭密!40多架F5原定2019年汰除 勇鷹機延遲交機被迫繼續飛
https://tw.appledaily.com/politics/20201029/GXNBZLRZNRC2PFBRCD7FVWUCO4/
5.【重磅快評】勇鷹vs.擁英:假首飛與真馬屁
https://udn.com/news/story/10930/4654006
6.F-5戰機汰換計畫晚了5年 是發生意外的致命關鍵點嗎?
https://vip.udn.com/vip/story/121160/4972647
7.F5-E戰機失事痛失年輕飛官…「老舊戰機汰換」問題為何懸而未決?
https://www.fountmedia.io/article/82261
8.Utilizzo della Nomenclatura 'Mission Design Series' (MDS) nelle Pubblicazioni Tecniche (PPTT) di Competenza della Daa
http://www.dgaa.it/newsletter/newsletter60/AER-0-0-12.pdf
9.50系列報導:AT-3自強號噴射教練機研製的故事
https://www.aidc.com.tw/tw/News/376
10.呂烱昌. 軍武》台北國防展 義大利人比美國人更想賣台灣武器. NOWnews.com. 2015-08-15
11.M-346空軍高級教練機,亞太防務雜誌 Asia-Pacific Defense,2016年9月19日 ·
https://www.facebook.com/AsiaPacificDefense/posts/975563569220742/
12.新聞眼/國造換裝延誤 該停飛就停飛
https://udn.com/news/story/10930/4974883
13.空軍高教機採購案 差一點就要買義大利M-346
https://tw.appledaily.com/politics/20170206/AMWTNHYKIIMQ5GVLAI7YNOHOAI/
14.民進黨將上台 空軍高教機向誰採購恐有新變局
https://www.storm.mg/article/79477
15.國機國造》空軍急換高教機 政黨輪替後改口還能飛到2028年
https://www.storm.mg/article/194685
16.家屬痛訴F-5E老舊、外界質疑為勇鷹高教機延宕硬飛?空軍全否認
https://www.storm.mg/article/3158138
f-22 vs f-35 在 新《番薯藤》國防軍事網 Facebook 的最佳解答
✅➡️飆風戰機與殲20誰強 中印網友空中先開戰
https://www.cna.com.tw/news/aopl/202008020083.aspx
✅印度接收首批五架法製飆風戰機!引發中印網友就法國飆風戰機 vs 中國殲20戰機分代高低及性能優劣展開論戰,印度空軍前司令多納(B.S. Dhanoa)直接發文狠狠打臉中國:質疑若殲20戰機真是中國所稱的『第五代戰機』卻為何帶有鴨翼(又稱前翼)這種設計破壞匿蹤性能?而其他真正第五代戰機(美國F-22、F-35和俄國Su-57)則都沒有採用。多納認為殲20戰機匿蹤性能根本不足稱為第五代戰機、前翼這種設計會提高戰機正面的雷達反射截面積(RCS),接戰時馬上就會被飆風戰機雷達偵測到,飆風戰機可在視距外直接用流星(Meteor)中程空對空飛彈鎖定並擊落中國殲20戰機。此外殲20戰機為何不能超音速巡航的問題也被質疑;真能說是所謂的『第五代戰機』嗎?
▫️
------
新《番薯藤》國防軍事網
https://www.facebook.com/military.idv.tw/
#專業軍事評析 #關心台灣國防
------
f-22 vs f-35 在 巴打台 Youtube 的最佳貼文
軍武器硏 第105集 2019年07月07日 主持: Larry , Alexei
第一節: 俄羅斯潛艇火災釀14官兵死亡/高度國防機密/普京取消行程與部長相討/涉事為變壓器短路起火/球體艙室設計迴異/潛艇救援再成關注
第二節: F-22重返中東/配合F-35多元戰術對付伊朗/福特號技術困難請外援/電磁系統升降機皆有瑕疵/美恢復瀕海艦巡防南海/機動性強大陸難追截
第三節: 美陸軍購500輕戰車/低強度衝突用處多/KC-46首飛空中加油C-5M/後勤保障確保空中霸權/美日海軍相中雷神RAM飛彈/主動追蹤目標提升防務
第四節: 解放軍封南海測試飛彈/DF-21D是否航母殺手/反艦飛彈VS彈道導彈/黑障導航、AI運算、機動力皆計算/直-20上055?/台灣總統誰屬影響F-16V軍售
巴打台網址
https://badatoy.com
巴打台Facebook
https://www.facebook.com/badatoyhk/
巴打台Youtube Channel:
https://www.youtube.com/channel/UCmc27Xd9EBFnc2QsayzA12g
f-22 vs f-35 在 巴打台 Youtube 的最佳解答
軍武器硏 第105集 2019年07月07日 主持: Larry , Alexei
第一節: 俄羅斯潛艇火災釀14官兵死亡/高度國防機密/普京取消行程與部長相討/涉事為變壓器短路起火/球體艙室設計迴異/潛艇救援再成關注
第二節: F-22重返中東/配合F-35多元戰術對付伊朗/福特號技術困難請外援/電磁系統升降機皆有瑕疵/美恢復瀕海艦巡防南海/機動性強大陸難追截
第三節: 美陸軍購500輕戰車/低強度衝突用處多/KC-46首飛空中加油C-5M/後勤保障確保空中霸權/美日海軍相中雷神RAM飛彈/主動追蹤目標提升防務
第四節: 解放軍封南海測試飛彈/DF-21D是否航母殺手/反艦飛彈VS彈道導彈/黑障導航、AI運算、機動力皆計算/直-20上055?/台灣總統誰屬影響F-16V軍售
巴打台網址
https://badatoy.com
巴打台Facebook
https://www.facebook.com/badatoyhk/
巴打台Youtube Channel:
https://www.youtube.com/channel/UCmc27Xd9EBFnc2QsayzA12g
f-22 vs f-35 在 巴打台 Youtube 的最佳貼文
軍武器硏 第105集 2019年07月07日 主持: Larry , Alexei
第一節: 俄羅斯潛艇火災釀14官兵死亡/高度國防機密/普京取消行程與部長相討/涉事為變壓器短路起火/球體艙室設計迴異/潛艇救援再成關注
第二節: F-22重返中東/配合F-35多元戰術對付伊朗/福特號技術困難請外援/電磁系統升降機皆有瑕疵/美恢復瀕海艦巡防南海/機動性強大陸難追截
第三節: 美陸軍購500輕戰車/低強度衝突用處多/KC-46首飛空中加油C-5M/後勤保障確保空中霸權/美日海軍相中雷神RAM飛彈/主動追蹤目標提升防務
第四節: 解放軍封南海測試飛彈/DF-21D是否航母殺手/反艦飛彈VS彈道導彈/黑障導航、AI運算、機動力皆計算/直-20上055?/台灣總統誰屬影響F-16V軍售
巴打台網址
https://badatoy.com
巴打台Facebook
https://www.facebook.com/badatoyhk/
巴打台Youtube Channel:
https://www.youtube.com/channel/UCmc27Xd9EBFnc2QsayzA12g
f-22 vs f-35 在 F-22及F-35專欄, profile picture - Facebook 的推薦與評價
如何掌握F-22及F-35匿蹤性淺談: 基本上F-22 RCS(Radar Cross Section 雷達反射截面積)是0.0001-2平方公尺,宛若昆蟲一般。 F-35則為則為小鳥等級,RCS 為0.0015平方 ... ... <看更多>
f-22 vs f-35 在 F-22 Raptor vs F-35 Lightning | Cost, Performance, Size, Top ... 的推薦與評價
Aug 24, 2018 - Lockheed Martin F-22 vs F-35 cost, performance, size, top speed, comparisons, photos. Read about differences between the F-22 Raptor & the ... ... <看更多>
f-22 vs f-35 在 [提問] 為什麼F22已經出來20年了,仍是無敵? - 看板Military 的推薦與評價
我是軍盲...
玩遊戲時,空戰遊戲中最好玩的就是Namco的空戰奇兵系列,在這個系列中雖然有著很大
的幻想成分(例如掛彈都上百顆等等)。 但是從十幾年前的作品至最新款的空戰奇兵
7,F22這架戰鬥機開起來都是極端的好用,整個移動、迴轉等等都接近無敵的程度。 除
了幻想中的戰鬥機外,遊戲中能買到最強的就是這架了,F35、Su57都沒有那麼強悍。
以上是遊戲文。
真正的問題時F22在真實世界中,從1997年9月7日首飛、
2005年12月15日服役到現在,已經過了十五年的時間,而這段時間人類的科技發展都從智
障手機時代變成人人智慧手機,電動車、自動駕駛也都出來了。
為什麼經過十幾年後,看一些報導,F22除了一個缺點『貴』以外,空戰方面仍是無敵的
呢? 戰鬥機的設計已經撞到人類文明的牆壁了嗎?
--
※ 發信站: 批踢踢實業坊(ptt.cc), 來自: 175.182.107.76 (臺灣)
※ 文章網址: https://www.ptt.cc/bbs/Military/M.1602933336.A.BA4.html
反而是看到他們考慮到費用與戰隊規模問題,用單機戰鬥力略遜於F22的F35來取代
※ 編輯: monguly00 (175.182.107.76 臺灣), 10/17/2020 19:26:23
很弱的那種耶....這種真的打得過F22!?
... <看更多>